วันศุกร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2560

( Array )อาเรย์ น้าเรย์


สวัดดีนะคะเราก็มาเจอกันอีกเเล้ว; ~~

 สำหรับวันนี้เราจะมาพูดเกี่ยวกับเรื่อง Array คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีการใช้งานที่เเพร่หลายซึ่งมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก เเละมักจะถูกนำมาใช้ในการคำนวณข้อมูลที่มีปริมาณมากๆเช่น การหาค่าเฉลี่ยของตัวเลย เป็นต้น ซึ่งถ้าเราเก็บข้อมูลของเเต่ละค่าไว้ในตัวเเปลเเต่ละตัวเราจะต้องใช้ตัวเเปรปริมาณมากๆ ดังนั้นจึงมีการนำ Array มาใช้ในการเก็บข้อมูลประเภทนี้

บทความนี้เรามาทำความรู้จักกับการสร้าง เเละใช้งานต่างๆกันนะคะ


Array คืออะไร?

Array คือ ตัวแปรที่เป็นพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูล
Array คือ ตัวแปรพิเศษที่สามารถเก็บค่าได้หลายค่า ภายในตัวแปรตัวเดียว
Array สามารถเก็บค่าหลาย ๆ ค่า ไว้ภายในตัวแปรเดียว และเข้าถึงได้ ด้วยการอ้างถึงชื่อของ array


ในภาษารูบี้สามารถประกาศค่าตัวเเปรเเบบ Array ได้โดย





 หรือ






ซึ่งหากเราต้องการระบุข้อมูลไปใน Array พร้อมกับประกาศตัวเเปรเราสามารถทำได้ดังนี้

เมื่อเราอยากให้ข้อมูลใน Array เป็นดังนี้



ก็สามารถประกาศได้เป็น






หรือ







ซึ่งในส่วนของอ้างอิงค่าตำเเหน่ง(Index)ของข้อมูลใน Array นั้นจะเริ่มต้นที่ 0 เสมอ หมายความว่าค่าเเรกที่ใส่ไปใน Array จะเริ่มเป็นตำเเหน่งที่ 0 ค่าที่สองจะเป็น ตำเเหน่งที่ 1 ตามลำดับ



เเละหากเราต้องการทราบว่าค่าภายในArray ตำเเหน่งนั้นคืออะไร มีค่าอะไรอยู่เราสามารถเรียกดูได้ดังนี้






ค่าที่ออกมาคือ Bangkok เลข 0 คือหมายถึงตำเเหน่ง(Index) ที่เราต้องการทราบ



เเต่อย่างไรก็ตามในภาษา รู้บี้นั้นยังสามารถเรียกดูได้ง่ายโดยสามารถ ระบุ .first เพื่อเรียกดู ข้อมูลภายใน Array ตัวเเรกเเละเรียก.last ในข้อมูล Array ตัวสุดท้าย








ต่อมาการเพิ่มข้อมูล Array เพิ่มเติมจากที่กำหนดหรือประกาศไว้ในตอนเเรก
จะประกาศดังนี้






หรือกำหนดว่าให้เพิ่มที่ตัวถัดไปนะ






หรือหากเราต้องการลบข้อมูลทำดังนี้

province.delete(ตำเเหน่งที่เราต้องการลบ)


ตัวอย่างเช่น







นี้ก็จบพื้นฐานของการใช้งาน Array ในภาษา Ruby กันเเล้วหวังว่าจะได้นำไปใช้ประโยชน์ไม่มากก็น้อยนะคะไว้เจอกันใหม่ในเรื่องหน้าา


สวัดดีค่าาาา~~~




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น